บทความทั่วไป

RPA คืออะไร
RPA คือ ซอฟต์แวร์โรบอทที่เลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ โดยที่มนุษย์เป็นผู้ออกแบบกระบวนการ (Process) และขั้นตอน (Workflow) การตัดสินใจต่าง ๆ เพื่อให้การทำงานซ่ำ ๆ ทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ลดข้อผิดพลาดในการทำงานที่เกิดจาก human error และยังสามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมงอีกด้วย

Big Data Ecosystem คืออะไร
Big Data Ecosystem จะเป็นภาพใหญ่ของการทำงานกับ Big Data เริ่มตั้งแต่การเก็บข้อมูล ประมวลผล วิเคราะห์ และ แสดงผลข้อมูล โดยที่เริ่มด้วยโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) และการเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมในการจัดเก็บ ประมวลผลและวิเคราะห์ (Process/Analytics) ซึ่ง Report/Application ดังกล่าวจะเป็นส่วนสำคัญ ที่จะเป็นส่วนของ Big Data ecosystema

เลือกเทคโนโลยีอย่างมีส่วนร่วม...เพื่อคุณภาพชีวิตของพลเมือง (ตอนที่ 3)
สองเมืองอัจฉริยะที่เราจะพาไปเป็นเมืองที่อยู่ในทวีปยุโรป นั่นคือ Barcelona และ Amsterdam ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของ Smart City และประสบความสำเร็จในการเป็น Smart City อย่างเป็นรูปธรรม เราไปดูกันค่ะว่าเขาทำกันอย่างไร

เลือกเทคโนโลยีอย่างมีส่วนร่วม...เพื่อคุณภาพชีวิตของพลเมือง (ตอนที่ 2)
ในตอนที่แล้ว เราได้ไปเรียนรู้แนวคิดการสร้าง Smart City จากประเทศที่เป็นสุดยอดด้านเทคโนโลยีอย่างประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่นกันไปแล้ว ในตอนที่ 2 นี้เราจะไปเยือนอีก 2 ประเทศที่คนไทยรู้จักกันดี และเป็นประเทศที่มีความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเร็วที่สุดในโลก อย่างประเทศสิงคโปร์และประเทศจีนกันค่ะ

เลือกเทคโนโลยีอย่างมีส่วนร่วม...เพื่อคุณภาพชีวิตของพลเมือง (ตอนที่ 1)
บทความนี้จะพาทุกท่านไปเยือน Smart City ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยนำข้อมูลมาจากสารคดี Smart Cities 2.0 [6] ที่ออกฉายในช่อง Channel News Asia, รายการสารคดีโลก 360 องศา [7] และ สารคดีจาก WIRED UK [8] โดยบทความนี้ประกอบด้วย 3 ตอนด้วยกัน ตอนแรกจะว่าถึงเมือง Smart City ในประเทศสุดยอดด้านเทคโนโลยีในเอเชียอย่างประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ส่วนตอนที่ 2 จะไปยังประเทศที่เราคุ้นเคยอย่างจีนและสิงคโปร์เพื่อนบ้านของเรา และตอนสุดท้ายจะไปดูสุดยอด Smart City ในยุโรปกัน ลองมาดูว่ามีส่วนเหมือนส่วนต่าง ทั้งทางแนวคิด นโยบาย เทคโนโลยี ประสิทธิภาพการทำงาน รวมถึงผลลัพธ์ต่อพลเมืองในเมืองนั้นอย่างไรบ้าง

กลไกของ Blockchain ใน BitCoin : เทคโนโลยี ผสมพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนโลกได้ (ตอนที่ 3)
ในตอนที่ 3 นี้เราจะมาพูดถึงการใช้งาน Bitcoin กันนะคะ ทั้งการใช้งานเป็นเงินดิจิทัล และการหารายได้จาก Bitcoin รวมถึงการคงอยู่ของสกุลเงิน Bitcoin มาเริ่มกันเลยค่ะ

กลไกของ Blockchain ใน BitCoin : เทคโนโลยี ผสมพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนโลกได้ (ตอนที่ 2)
ในตอนที่ 1 เราได้เรียนรู้ถึงความรู้พื้นฐานที่ใช้สร้าง Bitcoin กันแล้ว ไม่ว่าจะเป็น Hash Function, Hash Pointer, และ Digital Signature ในตอนที่ 2 นี้จะขออธิบายถึงกลไกการทำงานของ Bitcoin ซึ่งเป็น Cryptocurrency (สกุลเงินเข้ารหัส) กันนะคะ

กลไกของ Blockchain ใน BitCoin : เทคโนโลยี ผสมพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนโลกได้ (ตอนที่ 1)
ในช่วงที่ผ่านมา ถ้าใครติดตามด้านเทคโนโลยี หรือ ด้านการเงินการธนาคาร ก็คงได้ยินคำว่า Blockchain กันบ่อย ๆ ซึ่งล่าสุดก็ได้มีธนาคารยักษ์ใหญ่ในประเทศไทย ทั้ง ธนาคารไทยพาณิชย์ และ ธนาคารกสิกรไทย ก็ได้กระโดดลงมาใช้งานเทคโนโลยี Blockchain อย่างจริงจัง [1,2] โดยมี IBM และ Microsoft ประเทศไทยเป็นโต้โผใหญ่ทางฝั่งเทคโนโลยี [1,3] และแหล่งข่าวต่าง ๆ ต่างก็ออกมาประสานเป็นเสียงเดียวกัน ว่าเทคโนโลยี Blockchain จะมาเปลี่ยนโลกของเรา

นำเสนอสไตล์ TED Talk (ตอนที่ 2)
บทความในตอนที่ 2 นี้ เรามาต่อกันด้วยเทคนิคการนำเสนอสไตล์ TED Talk จาก Chris Anderson ประธาน TED Talk ตัวพ่อ ซึ่งเทคนิคเหล่านี้นำมาจากหนังสือ TED Talks [3] ที่เขียนโดย Chris Anderson เอง และเพิ่งออกมาเมื่อต้นปี 2016 ซึ่งจะมีกลเม็ดเด็ดพรายอะไรบ้าง มาดูกันเลย

การสร้างนวัตกรรมในองค์กรใหญ่: กรณีของกลุ่ม ปตท. PTT
ในขณะที่เศรษฐกิจโลกกำลังซบเซา ราคาน้ำมันดิ่งเหวอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2014 ส่งผลกระทบต่อธุรกิจสำรวจและผลิตปิโตรเลียมอย่างหนักจนถึงขั้นปิดหลุมหยุดผลิต [1] ประเทศผู้ผลิตน้ำมันหลายประเทศเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นในอเมริกาใต้อย่าง เวเนซูเอลา...