บทความ Excel, Access, SQL Server, ASP.NET, Windows, Database, IT
Microsoft SQL Server 2017 Datasheet ( 1 )
ปัจจุบัน Microsoft SQL Server 2017 สามารถติดตั้งได้บน หลายแพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็น Microsoft Windows เดิมหรือระบบปฏิบัติการ Linux ( มี Package ไม่ว่าจะมาจากตระกูล Redhat หรือ Debian อีกทั้งยังสามารถติดตั้งผ่าน Repositories ของแต่ละค่ายได้อีกด้วย)

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 4
ในตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้พูดถึงพรอพเพอร์ตี (property) โดยละเอียด และได้พาดพิงถึงหลักการที่เกี่ยวข้องกับคลาสสิกพรอพเพอร์ตี อาทิ สมาชิกแบบฟิลด์, เอนเคปซูเลชัน, การเชื่อมหลวมและเกตเตอร์/เซตเตอร์ ในบทความตอนนี้ผู้เขียนจะพูดถึงแง่มุมต่าง ๆ ของการเขียนโค้ดใช้งานพรอพเพอร์ตี เช่น วิธีใส่โค้ดคัดกรองข้อมูลในคลาสสิกพรอพเพอร์ตี วิธีเขียนและใช้งาน “ออโตพรอพเพอร์ตี” (auto implemented properties) และวิธีลดทอนพรอพเพอร์ตีด้วย “นิพจน์ฝังตัว” (Expression-bodied members) ที่มีประโยชน์มาก เพราะจะช่วยให้การเขียนโค้ดกระชับขึ้นไปอีก

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 3
พรอพเพอร์ตี ของดีใน C# ในตอนที่ผ่านมาผู้เขียนได้พูดถึงพรอพเพอร์ตี (property) ไปแล้วอย่างคร่าวๆ ในบทความตอนนี้ได้เวลาที่จะพูดถึงพรอพเพอร์ตีโดยละเอียดเสียที พรอพเพอร์ตีเป็นเรื่องสำคัญ มันเป็นสมาชิกของคลาสที่ช่วยให้เราเขียนโปรแกรมตามลัทธิวัตถุวิธีได้ง่ายขึ้นและสวยงามขึ้น มันเป็นคุณสมบัติพิเศษในภาษาซีชาร์พที่ท่านจะไม่พบในภาษาอื่น การศึกษาให้เข้าใจว่าพรอพเพอร์คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร และใช้งานอย่างไรจะช่วยให้ท่านเขียนโค้ดแบบ OOP ในภาษาซีชาร์พได้อย่างสง่างาม

Power Query คืออะไร
Power Query คือเครื่องมือด้าน Data Analysis ที่มีทั้งใน Microsoft Excel, Microsoft Power BI, SQL Server ที่เรียนรู้ไม่ยาก ช่วยให้เราปรับแต่งข้อมูล (Data Transformation) เชื่อมโยงข้อมูลไปยังแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้มากมายหลากหลายแหล่ง (Multi Data Source) สามารถให้เรา รวมข้อมูล (Merge) แยกข้อมูล (Extract) ปรับแต่งข้อมูล (Shaping) ให้ตรงกับข้อมูลที่เราต้องการวิเคราะห์ข้อมูล ช่วยลดการทำงานซ้ำๆ ด้านข้อมูลลง โดยกำหนดกระบวนการในการแปลงข้อมูลแย่างเป็นขั้นเป็นตอน โดยฉากหลังจาก Power Query นั้น คือ ภาษา M ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเตรียมข้อมูลให้กับข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมนำไปใช้ในการวิเคราะห์

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 2
วัตถุวิธีซีชาร์ป: ตอน คลาส ในบทความตอนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้แนะนำหลักการเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธี (Object Oriented Programming) ในภาษาซีชาร์ปอย่างกว้าง ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวม ต่อไปนี้ผู้เขียนจะลงรายละเอียดเริ่มจากหัวข้อเอนแคปซูเลชัน โดยจะอธิบายเรื่องคลาสให้ละเอียดมากยิ่งขึ้น

การแสดงฟอร์มเริ่มต้น โดยปราศจากหน้าต่างเมนูของ Microsoft Access
ผู้พัฒนาระบบงานด้วย Access เมื่อเราพัฒนาฟอร์ม เราสามารถกำหนดค่าให้ฟอร์มที่ต้องการแสดงขึ้นมาเป็นฟอร์มอัตโนมัติเมื่อเปิดไฟล์ และยังสามารถกำหนดให้ฟอร์มไม่ได้ถูกครอบด้วย Microsoft Accessได้อีกด้วย ซึ่งทำได้โดยวิธีใดติดตามได้ในบทความ

ลองสร้างฟอร์มหลัก ด้วย Navigation Form ใน Microsoft Access กัน
บทความนี้จะแนะนำการสร้าง Navigation Form ด้วย Microsoft Access เพื่อให้สามารถเปิดฟอร์มหรือ รายงานต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย ลดความสลับซับซ้อนลง โดยจะเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ใช้งานมากยิ่งขึ้น และยังสามารถตกแต่งได้ตามที่ต้องการอีกด้วย

การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) ตอนที่ 1
การเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธีในภาษาซีชาร์ป (OOP with C#) การออกแบบและเขียนโปรแกรมแบบวัตถุวิธี (Object Oriented Programming: OOP ออพเจ็กต์โอเรียนเท็ดโปรแกรมมิง) ตั้งอยู่บนหลักการสามประการที่เปรียบได้กับสามเสาหลัก ประกอบด้วย หลักการเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation) อินเฮียริแตนซ์ (Inheritance) และโพลิมอร์ฟิสซึม (Polymorphism) หากท่านเข้าใจหลักการทั้งสามนี้ ก็เท่ากับว่าท่านเข้าใจหัวใจของ OOP ทั้งหมดแล้ว

ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชัน UCASE และ ฟังก์ชัน LCASE ใน Microsoft Access
ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชัน UCASE และ ฟังก์ชัน LCASE ใน Microsoft Access หากท่านใดต้องการแปลงตัวอักษรภาษาอังกฤษซึ่งมีทั้งตัวเล็กบ้างใหญ่บ้าง ให้เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ทั้งหมด หรือ ให้เป็นตัวอักษรตัวเล็กทั้งหมด น่าจะรู้จักฟังก์ชัน UPPER และ ฟังก์ชัน LOWER...

Presentation ยอดเยี่ยม VS Presentation ยอดแย่
ในการนำเสนองานแต่ละครั้ง นอกจากเราจะต้องเตรียมตัวเองในการนำเสนอแล้ว ยังต้องจัดทำสื่อ หรือ PowerPoint ในการนำเสนอสิ่งที่เราต้องการจะสื่อสารออกไปให้คนฟังเห็นภาพรวมของเนื้อหา และเข้าใจเนื้อหาของเรามากยิ่งขึ้น แต่หลายครั้งเราจะพบว่า คนฟังรู้สึกเบื่อหน่ายกับการดู PowerPoint ของเรา และอาจจะไม่เข้าใจในสิ่งที่เราต้องการนำเสนอ วันนี้จึงมาแนะนำเทคนิคการทำ Presentation ที่ดี และ Presentation แบบไหน ที่ไม่ควรทำ
