เทคนิคสร้างงานนำเสนอให้น่าสนใจด้วย Infographic

เทคนิคสร้างงานนำเสนอให้น่าสนใจด้วย Infographic
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ปัจจุบันนี้ใคร ๆ ก็ต้องรู้จัก Infographic ไม่ว่าจะทำสื่ออะไร โปสเตอร์ เว็บไซต์ หรือ PowerPoint นำเสนองาน
ก็หันมาใช้วิธีการนำเสนอแบบ Infographic
บทความนี้จึงเป็นบทความแนะนำเทคนิค หรือหัวใจหลักๆ ที่สามารถจะนำ Infographic มาใช้ในงานนำเสนอของคุณให้เล่าเรื่องได้อย่างลงตัว และสวยงาม
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ปัจจุบันนี้ใคร ๆ ก็ต้องรู้จัก Infographic ไม่ว่าจะทำสื่ออะไร โปสเตอร์ เว็บไซต์ หรือ PowerPoint นำเสนองาน
ก็หันมาใช้วิธีการนำเสนอแบบ Infographic
บทความนี้จึงเป็นบทความแนะนำเทคนิค หรือหัวใจหลักๆ ที่สามารถจะนำ Infographic มาใช้ในงานนำเสนอของคุณให้เล่าเรื่องได้อย่างลงตัว และสวยงาม

จากภาพ สิ่งสำคัญของ Infographic ที่จะมาประยุกต์ใช้ในงานนำเสนอได้
เพียงแต่ว่าในการนำเสนอให้น่าสนใจมากขึ้น อาจจะปรับเปลี่ยนรูปแบบกราฟจากเดิม
เช่น กราฟแท่ง อาจจะแทนด้วยรูปภาพบางอย่างที่ทำให้คนเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ของกราฟ และเข้าใจสินค้าเรา
ในขณะที่เรากำลังโชว์ยอดขายรองเท้าแต่ละรุ่น แทนที่จะใส่เป็นกราฟแท่ง ก็ใส่เป็นรูปรองเท้าแต่ละรุ่นนั้นเรียงต่อกัน
โดยกำหนดอัตราส่วนใหัชัดเจน เช่น ภาพรองเท้า 1 คู่ แทนจำนวนรองเท้า 1,000 คู่ที่ขายได้ ก็จะทำให้งานนำเสนอเราน่าสนใจยิ่งขึ้น
เทคนิคที่กล่าวมาข้างต้นเป็นหัวใจสำคัญที่คุณจะสามารถไปประยุกต์ใช้ในการทำงานนำเสนอแบบ Infographic ได้อย่างมืออาชีพ
ลองเริ่มร่างแนวคิดลงบนกระดาษ แล้วลงมือทำจริง รับรองว่างานนำเสนอของคุณจะไม่ใช่งานนำเสนอที่น่าเบื่ออีกต่อไป
- เทคนิคการเล่าเรื่องแนว Infographic
- เล่าแบบ Listed เหมาะกับการเล่าเรื่องที่มีหัวข้อหลักเพียงหัวข้อเดียว แต่หลายหัวข้อย่อย เรื่องควรไม่ยาวมากนัก
- เล่าแบบ Comparison เหมาะกับการใช้เปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่ง โดยนำเสนอคู่กัน ทำให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น
- เล่าแบบ Structure เหมาะกับการแสดงให้เห็นส่วนประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
- เล่าแบบ Timeline เหมาะกับการเล่าประวัติคน บริษัท, การเดินทางของบางสิ่ง
- เล่าแบบ Flow Chart เหมาะกับการนำเสนอเป็นลำดับขั้นเหมาะกับการเสนอเป็นควิซให้ผู้อ่านได้ทราบคำตอบที่ต้องการ โดยการอ่านไล่ลงไปเรื่อยๆ
- เล่าแบบ Visualized Article เหมาะกับการแปลงบทความ, ข้อมูลที่มีมาก ให้เป็นภาพ ถ้ามีตัวเลขต้องนำเสนอเป็นกราฟ ตัวหนังสือสื่อสารผ่านภาพ หรือไอคอน
- เล่าแบบ Road Map เหมาะกับการนำเสนอเป็นลำดับขั้น เหมาะกับการเสนอเป็นควิซให้ผู้อ่านได้ทราบคำตอบที่ต้องการ โดยการอ่านไล่ลงไปเรื่อยๆ
- การใช้ภาพแทนข้อความ
การใช้ภาพแทนข้อความซึ่งการใช้ภาพแทนข้อความเป็นส่วนสำคัญมากในงานแบบ Infographic
ในงานนำเสนอนั้น การใช้แผนภูมิหรือกราฟเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของตัวเลขหรือสิ่งของต่าง ๆ เป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้วเพียงแต่ว่าในการนำเสนอให้น่าสนใจมากขึ้น อาจจะปรับเปลี่ยนรูปแบบกราฟจากเดิม
เช่น กราฟแท่ง อาจจะแทนด้วยรูปภาพบางอย่างที่ทำให้คนเข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ของกราฟ และเข้าใจสินค้าเรา
ในขณะที่เรากำลังโชว์ยอดขายรองเท้าแต่ละรุ่น แทนที่จะใส่เป็นกราฟแท่ง ก็ใส่เป็นรูปรองเท้าแต่ละรุ่นนั้นเรียงต่อกัน
โดยกำหนดอัตราส่วนใหัชัดเจน เช่น ภาพรองเท้า 1 คู่ แทนจำนวนรองเท้า 1,000 คู่ที่ขายได้ ก็จะทำให้งานนำเสนอเราน่าสนใจยิ่งขึ้น
พิกโตแกรม คือ ไอคอน, สัญลักษณ์ ที่ใช้แทนข้อความ โดยหลักการในการใช้ภาพนั้น ควรเป็นภาพสัญลักษณืที่เป็นสากล
ทุกคนรู้จักกันทั่วไป จึงจะสามารถทำให้คนดูเข้าใจข้อมูลจากภาพนั้นๆ แทนการอ่านข้อความ
การใช้พิกโตแกรมนั้น เหมาะกับการเล่าข้อมูลเรื่องราวต่างๆ อย่างตรงไปตรงมา
นำประเด็นสำคัญ Keyword มาทำเป็นพิกโตแกรม ก็จะสามารถเรียกความสนใจจากคนดูได้ ถ้าเปรียบเทียบกับการมีแค่ตัวหนังสือ
ทุกคนรู้จักกันทั่วไป จึงจะสามารถทำให้คนดูเข้าใจข้อมูลจากภาพนั้นๆ แทนการอ่านข้อความ
การใช้พิกโตแกรมนั้น เหมาะกับการเล่าข้อมูลเรื่องราวต่างๆ อย่างตรงไปตรงมา
นำประเด็นสำคัญ Keyword มาทำเป็นพิกโตแกรม ก็จะสามารถเรียกความสนใจจากคนดูได้ ถ้าเปรียบเทียบกับการมีแค่ตัวหนังสือ
เทคนิคที่กล่าวมาข้างต้นเป็นหัวใจสำคัญที่คุณจะสามารถไปประยุกต์ใช้ในการทำงานนำเสนอแบบ Infographic ได้อย่างมืออาชีพ
ลองเริ่มร่างแนวคิดลงบนกระดาษ แล้วลงมือทำจริง รับรองว่างานนำเสนอของคุณจะไม่ใช่งานนำเสนอที่น่าเบื่ออีกต่อไป