บทความ SQL Server

ดึงค่าประสิทธิภาพของ SQL Server ด้วย Power BI
บทความนี้น่าจะออกไล่เลี่ยกันกับบทความ “รู้ได้อย่างไรว่า Microsoft SQL Server มีประสิทธิภาพแย่ลง” เพราะเขียนในช่วงเวลาเดียวกัน ผู้เขียนได้พูดถึงแหล่งข้อมูลของค่าประสิทธิภาพว่ามีอะไรกันบ้าง อยากให้ผู้อ่านลองอ่านบทความนั้นก่อนเพื่อเป็นปูพื้นความรู้

3 เทคนิคในการ Migration SQL Server จาก On-Premise สู่ Azure SQL Database
QL Server Community Thailand ครั้งที่ 12 Maximizing SQL Server performance with Microsoft Azure เทคนิคการจัดการ SQL Server เพื่อการรองรับแพลตฟอร์มที่หลากหลาย จาก Ground สู่ Cloud และเทคนิคการ Migrate จาก On-premise ขึ้น Azure พร้อมฟีเจอร์สุด Cool อย่าง Azure SQL Database Intelligent

SQL Server บน Linux Docker และ การ deploy to Azure
Maximizing SQL Server performance with Microsoft Azure เทคนิคการจัดการ SQL Server เพื่อการรองรับแพลตฟอร์มที่หลากหลาย จาก Ground สู่ Cloud และเทคนิคการ Migrate จาก On-Primise ขึ้น Azure พร้อมฟีเจอร์สุด Cool อย่าง Azure SQL Database Intelligent

เรียนรู้ Azure SQL Server Managed Instance
Maximizing SQL Server performance with Microsoft Azure เทคนิคการจัดการ SQL Server เพื่อการรองรับแพลตฟอร์มที่หลากหลาย จาก Ground สู่ Cloud และเทคนิคการ Migrate จาก On-primise ขึ้น Azure พร้อมฟีเจอร์สุด Cool อย่าง Azure SQL Database Intelligent

แนวทางการแก้ปัญหา User ในฐานข้อมูลใด ๆ เป็นกำพร้า
บทความนี้เกิดขึ้น เพื่อสนับสนุนหลักสูตร Microsoft SQL Server database Administration ที่ผู้เขียนบรรยายอยู่เป็นประจำ โดยปกติผู้เขียนจะสาธิตประกอบคำบรรยายโดยละเอียดดีแล้ว หรือคิดเองว่าดีแล้ว มีบ้างที่ผู้อบรมเก็บข้อสงสัยอาไว้ไม่ถามทันที แล้วนำกลับมาถามใหม่อาจภายในช่วงฝึกอบรมอยู่ หรือหลังจากฝึกอบรมเสร็จสิ้นไปแล้วก็ตาม ผู้เขียนเลยตัดสินใจ นำมาเขียนเป็นบทความไว้ดีกว่าเพื่อให้ผู้อบรม หรือผู้สนใจทั่วไป สามารถมาศึกษาเพิ่มเติมได้

การ Migrate ฐานข้อมูลจาก Microsoft SQL Server Database Engine ไปยัง Azure SQL Database ในหลายรูปแบบ
ผู้เขียนได้รับการสอบถามเกี่ยวกับการ Migrate ฐานข้อมูลจากที่ใช้อยู่ ใน Microsoft SQL Server (On-premise) ขึ้นไปไว้บน Azure SQL DB ยากไหม ทำได้อย่างไร และมีข้อควรคำนึงอะไรไหม เริ่มต้นจาก George Huey และ Wade Wegner ได้โพสต์ SQL Azure Migration Wizard ลงใน CodePlex ในปี ค.ศ. 2009 ซึ่งเป็นแหล่งรวมโปรเจค Open Source ของ Microsoft (ปัจจุบัน CodePlex ถูกยุบไปรวมไว้ใน github แล้ว) และไม่พัฒนาต่อตั้งแต่ปี 2014 ซึ่งเครื่องมือตัวนี้สามารถ Migrate ได้ทั้งโครงสร้างฐานข้อมูล (Schema) และข้อมูล (Data)

การสร้าง User Defined Function ใน Microsoft SQL Server
ผู้เขียนค่อนข้างแปลกใจเมื่องาน SQL Server Community Thailand ครั้งที่ 12 ซึ่งเป็นครั้งแรก ที่จัดแบบ Live ตามสถานการณ์ COVID-19) ผู้เขียนแสดงตัวอย่างเกี่ยวกับการสร้าง User Defined Function ให้กับผู้เข้างานดู มีคน CHAT มาบอกว่าไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่า Microsoft SQL Server สามารถสร้าง Function ได้ รู้แต่ว่าสามารถสร้าง Procedure ได้เพียงเท่านั้น และเนื่องจากผู้เขียนได้เขียนถึง Stored Procedure ไปในครั้งก่อน เลยเป็นโอกาสต่อเนื่องที่จะเขียนถึง Function กันบ้างเพื่อไม่ให้น้อยหน้ากัน ก่อนอื่นทั้ง Procedure และ Function ก็เป็นโปรแกรมย่อยกันทั้งคู่ และจะถูกสร้างเป็น Database Object ในฐานข้อมูล ผู้ใช้ที่ได้รับอนุญาตจะสามารถใช้งานได้ เช่นเดียวกับบทความ Stored Procedure ที่ไม่ลงรายละเอียดการสร้าง Step-by-Step เป็นบทความเชิงวิจารณ์เสียมากกว่า หากผู้อ่านสนใจสามารถอ่าน Book Online จากทาง Microsoft หรือสะดวกฝึกอบรมหลักสูตร Microsoft SQL Server Database Development ผู้เขียนก็ยินดีต้อนรับครับ

รู้จักกับ Stored Procedure ใน Microsoft SQL Server
คำอธิบายที่ง่ายที่สุดสำหรับ Stored Procedure ก็คือ “การรวบรวมชุดคำสั่ง T-SQL เข้าด้วยกัน แล้วจัดเก็บเป็น Object ไว้ในฐานข้อมูล ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สามารถเรียกใช้งาน Stored Procedure ได้" โดยชุดคำสั่งที่รวบรวมเข้าด้วยกัน

การอ่าน Query Execution Plan ตอนที่ 2
ก่อนหน้านี้ บทความ การอ่าน Query Execution Plan ตอนที่ 1 เป็นการปูพื้นฐานเกี่ยวกับชนิดของการแสดงผล Compiled Plan (Query Execution Plan ที่ถูกเลือกจากกลไก Query Optimization แล้ว) ทั้งแบบ Estimated และ Actual และตัวอย่างการสร้างและปรับแต่ง Index ชนิด Covering Index กันไปแล้ว สำหรับ การอ่าน Query Execution Planตอนที่ 2 นี้ ผู้เขียนจะเจาะไปที่ตัวดำเนินการที่พบบ่อย รวมถึงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างตารางแบบต่าง ๆ กัน

การอ่าน Query Execution Plan ตอนที่ 1
บทความนี้ต่อจากบทความ “เตรียมพร้อมก่อนอ่าน Execution Plan” หากผู้อ่านเปิดมาเจอบทความแล้วยังไม่ได้อ่านบทความแรกผู้เขียนแนะนำให้อ่านก่อน เพราะจะได้ทราบถึงขั้นตอนการประมวลผลคิวรี่ว่ามีกลไกเช่นไร สำหรับบทความนี้ผู้เขียนจะใช้ 2 เครื่องมือเป็นหลักคือ Microsoft SQL Server Management Studio (SSMS) และ Sentryone Plan Explorer หากผู้อ่านต้องการทำตามตัวอย่างในบทความ ก็สามารถหาดาวน์โหลดได้จาก https://www.sentryone.com/plan-explorer